BLOG

ขอขอบพระคุณ บริษัท อินเตอร์เทค อินดัสทรี แอนด์ เซอร์ทิฟิเคชั่น เซอร์วิสเซส (ประเทศไทย) จำกัด ที่เลือกเก้าอี้เพื่อสุขภาพ Hara Chair ดูแลสุขภาพการนั่งของบุคลากรภายในองค์กร

คุณนพพล สงวนทรัพยากร เทรดเดอร์มืออาชีพกับอาการปวดหลังจนต้องเปลี่ยนเก้าอี้มาแล้วเกือบครึ่งแสน

คุณธนัฏฐา ทุกขนิโรธ พนักงานออฟฟิศที่ต้องเปลี่ยนไลฟ์สไตล์การทำงานจาก Work at office สู่ Work from home กับผลกระทบด้านสุขภาพที่มาจากการนั่งทำงานเป็นเวลานาน

ในระหว่างการทำงาน สภาวะที่ทุกคนล้วนอยากให้เกิดขึ้นคงหนีไม่พ้น สภาวะที่เรียกว่า “สมาธิ” เพราะการมีสมาธิ จะทำให้เราจดจ่ออยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งได้นาน และทำให้ความคิดฟุ้งซ่านในเรื่องที่ไม่ได้อยู่ตรงหน้าไม่เกิดขึ้น หรือเกิดขึ้นได้น้อยลง เมื่อเรามี “สมาธิในการทำงาน” สภาวะนี้จะทำให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ มีไอเดียที่จะต่อยอดหรือประยุกต์ใช้กับงาาน

อ่านหัวข้อบทความดูเหมือนจะเกินจริง แต่หากพิจารณาดีๆแล้วนี่คือความเชื่อมโยงที่แน่นหนาจนแทบแยกกันไม่ออก ปฏิเสธไม่ได้จริงๆว่า...ชีวิตประจำวันและโดยเฉพาะระหว่างที่เรากำลังทำงานหน้าคอมพิวเตอร์ เก้าอี้..เปรียบดังเงาติดตัว ที่อยู่กับเราแทบจะตลอดเวลา ซึ่งนั่นคือที่มาของชื่อบทความที่จะได้กล่าวต่อไป

Hara Chair ไม่หยุดนิ่ง #เราคือตัวจริงเรื่องเก้าอี้สุขภาพ เพิ่มประสิทธิภาพและความมั่นใจในบริการ #ประมวลภาพ #งานฝึกอบรมเสริมทักษะความรู้เชิงลึก ให้แก่พนักงานขายในหัวข้อ.. “โครงสร้างกระดูกกล้ามเนื้อและการนั่งอย่างมีประสิทธิภาพ” โดย... คุณสุนิตา แซเผาะ วิทยากรผู้เชี่ยวชาญ/นักกายภาพบำบัด ศูนย์กายภาพบำบัด บ้านใจอารีย์ ณ วันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ที่ผ่านมา สถานที่จัดงาน @SOFIN SPACE (สยามสแควร์)

ตอกย้ำความเป็นเก้าอี้สุขภาพอย่างแท้จริง เก้าอี้สุขภาพ Hara Chair ได้รับเชิญจาก สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ให้ร่วมแสดงสินค้าเพื่อสุขภาพ ในงาน Health Tech Thailand 2021 ซึ่งจัดแสดงงานวิจัยสินค้าและนวัตกรรมด้านการแพทย์และสุขภาพมากมายหลากหลายผลิตภัณฑ์

และแล้วก็วนเวียนมาถึงเดือนสุดท้ายของปี (บทความนี้เขียนขึ้นในเดือน ธ.ค.2564) 2 ปีกว่ากับช่วงเวลาที่ชาวไทยรวมถึงชาวโลกต้องปรับตัวกันและพยายามอยู่ร่วมกับเชื่อไวรัส โคโรน่า 2019 หรือ โควิด19 ซึ่งแน่นอนว่าข่าวคราวต่างๆเกี่ยวกับไวรัสชนิดนี้ มีผลต่อจิตใจและวิถีการดำเนินชีวิต แต่ก็มีสิ่งที่ทำให้เราทุกคนได้ตระหนักและให้ความสำคัญกับมันมากขึ้นอย่างมีนัยยะสำคัญจริงๆ นั่นคือเรื่อง การดูแลสุขภาพ ไม่ว่าก่อนหน้านี้เราจะใช้ชีวิตอย่างไร ต่อจากนี้การดูแลสุขภาพ สำคัญจริงๆ นอกจากช่วยให้เราแข็งแรง กระฉับกระเฉงแล้ว จะเห็นว่าอัตราจำนวนผู้ป่วยที่พบอาการร้ายแรงจากโรค ก็น้อยมาก แม้ผลตรวจว่าติดเชื้อ สังเกตได้จากข่าวสารต่างๆรอบตัว (เนื่องจากวัคซีนป้องกันไม่ได้ 100%)

เมื่อมีความลังเลเกิดขึ้น การเลือกตัดสินใจซื้อเก้าอี้ดีๆซักตัวเพื่อมาใช้งานอาจยากกว่าที่คิด เพราะมีมากมายหลากหลายแบรนด์ให้เลือกสรรค์ แล้วจะเหมาะกับเราหรือเปล่า นั่งแล้วสบายจริงไหม บทความนี้คือ 10 เหตุผลที่คุณควรเลือกเก้าอี้สุขภาพ Hara Chair ให้เป็นเก้าอี้ทำงานคู่ใจ ซึ่งเป็นข้อมูลที่ชัดเจนและมีหลักฐานทั้งสิ้น เชิญรับชมรายละเอียด

หลายๆท่านที่เป็นลูกค้าของเก้าอี้เพื่อสุขภาพ Hara Chair ที่ได้สัมผัสกับความสบายจากการนั่งเบาะนั่งแยก 2 ชิ้น คงแทบจะไม่ต้องอ่านบทความนี้ เพราะนอกเหนือจากการวัดผลทางความรู้สึกว่าเก้าอี้สุขภาพ Hara Chair นั่งสบายแล้ว ความสบายที่ได้รับมันแตกต่างอย่างเป็นวิทยาศาตร์ ด้วยนวัตกรรมการออกแบบที่ถือว่าเป็นพระเอกของเก้าอี้สุขภาพ Hara Chair นั่นก็คือ เบาะนั่งแยก 2 ชิ้น ที่เห็นแเว๊บแรก อาจคิดว่าแปลกจริงๆที่เก้าอี้จะออกแบบให้แยกกันแบบนี้ สำหรับท่านที่ยังไม่เคยสัมผัส วันนี้เรามาอธิบายถึงเรื่องนี้กันครับ

นายแพทย์ จักร์พงค์ ศักดิ์เสรีชัย สูตินรีแพทย์ประจำโรงพยาบาล กรุงเทพเมืองราช จังหวัดราชบุรี ประสบปัญหาจาการนั่งทำงาน ตรวจคนไข้ โดยแต่ละวันใช้เวลาในการนั่งประมาณ 5-6 ชม.ขึ้นไป ส่งผลให้มีอาการปวดคอ ปวดไหล่ และปวดบ่า เป็นประจำ บางครั้งมีอาการปวดไปถึงบั้นเอวด้วย ลักษณะอาการคล้ายกระดูกกดทับเส้นประสาท จนถึงขั้นต้องกินยาและกายภาพบำบัด แต่ซักพักอาการก็กลับมาอีกไม่หายขาด

จะมีสักกี่คนที่จะใส่ใจกับการนั่งในแต่ละวัน สำหรับหลายๆ ท่านอาจจะใช้เวลาในการนั่งเป็นสัดส่วนที่มากกว่าการยืนหรือการนอน หากต้องนั่งต่อเนื่องเป็นเวลานาน เก้าอี้สุขภาพจึงเป็นจุดเริ่มต้นสำคัญในการดูแลสุขภาพ ให้ความสำคัญกับการนั่งตั้งแต่วันนี้เพื่อสุขภาพที่ดีในทุกวัน

ดร. อินทัธ รัตนไตร ผู้จัดการ บริษัททริปเปิ้ล ไนน์ พลัส จำกัด ประสบปัญหาจากการนั่งทำงานเป็นเวลานานในแต่ละวัน มีอาการปวดหลัง ถึงขั้นต้องไปกายภาพบำบัด แต่หลังจากใช้เก้าอี้ Hara Chair อาการปวดหลังก็หายไป และยังใช้ในการนั่งทำงานเป็นประจำ เนื่องจากต้องทำงานไปด้วยและเรียนไปด้วยจนจบ ป.โท-ป.เอก ขอขอบพระคุณที่ให้ Hara Chair เป็นส่วนหนึ่งในความสำเร็จ ทุกช่วงทั้งการทำงานและการเรียน

REVIEW จากลูกค้า Hara Chair คุณ ณัฐฐาพร ทับทิมศรี อาชีพรับทำบัญชี คุณ ณัฐฐาพร ประสบปัญหาจากการนั่งเป็นอย่างมากเนื่องจากต้องทำงาน 8-15 ชม. ต่อวัน ทำให้มีอาการปวดเมื่อยตาม หลัง ก้น และ คอ ส่งผลให้การทำงานในแต่ละวันมีความลำบากมากจากการนั่ง #แต่หลังจากใช้ Hara Chair อาการปวดดังกล่าวหายไปและสามารถมีความสุชได้อย่างเต็มที่กับการนั่งทำงาน

แพทย์หญิง นงลักษณ์ รุ่งศรีศศิธร อายุรแพทย์ประจำ Healthmaster Clinic ประสบปัญหาจาการนั่งทำงาน โดยแต่ละวันใช้เวลาในการนั่งประมาณ 8-10 ชม. ส่งผลให้มีอาการปวดหลัง ปวดสะบัก ปวดช่วงเอว ต้องใช้การนวดไทยและยาแก้ปวดเพื่อบรรเทา แต่หลังจากใช้ เก้าอี้เพื่อสุขภาพ Hara Chair เป็นประจำ อาการปวดต่างๆดีขึ้นมากอย่างเห็นได้ชัด (รับชมรายละเอียดได้ในวิดิโอ)

REVIEW จากลูกค้า Hara Chair (คุณปู กราฟิกดีไซน์)คุณปูประสบปัญหาจากการนั่งทำงานมากกว่า 12 ชั่วโมง/วัน ส่งผลให้มีอาการปวดหลัง ปวดเอว เป็นประจำ แต่หลังจากใช้ Hara Chair ผลได้ที่จากการใช้งานมา 4-5 เดือน พบว่าอาการเจ็บปวดต่างๆค่อยดีขึ้น และไม่มีอาการเหล่านี้กลับมาอีก

ในปัจจุบันมีเก้าอี้ให้คุณเลือกมากมายหลายรุ่นหลายยี่ห้อ แต่ถ้าสังเกตุจริงๆว่า คำว่า "เก้าอี้เพื่อสุขภาพ" จะถูกนำมาเป็นจุดขายในคุณสมบัติที่ว่า นั่งแล้วไม่ปวดหลัง แทบทั้งสิ้น แล้วเราจะมั่นใจได้อย่างไรว่าเก้าอี้ตัวไหน คือ "เก้าอี้เพื่อสุขภาพ"จริงๆดังที่หลายๆรุ่นหลายๆยี่ห้อได้ โฆษณาไว้

สาเหตุโรคกระดูกสันหลังที่เกิดขึ้น มักเกิดจากพฤติกรรมในการใช้ชีวิต โดยเฉพาะการนั่งอยู่กับที่เป็นเวลานานเกินไป โดยผู้ที่ทำงานในออฟฟิตที่ต้องนั่งนานๆติดๆกันหลายชั่วโมงต่อวันคือ หนึ่งในผู้ที่กำลังเสี่ยงกับโรคที่เกียวข้องกับกระดูกสันหลัง ด้วยหลักการง่ายๆคือเมื่อเรานั่งนาน ร่างกายจะปรับเปลี่ยนท่าทางให้เราโดยอัตโนมัติ

เก้าอี้เพื่อสุขภาพ Hara Chair  นอกจากจะมีประสิทธิภาพในเรื่องการปกป้องกระดูกสันหลัง และช่วยให้นั่งสบาย นั่งได้นานโดยไม่ปวดหลัง ปวดก้น ช่วยป้องกันการเกิดโรคที่เกี่ยวกับการนั่งแล้ว เก้าอี้เพื่อสุขภาพ Hara Chair ยังมีความแข็งแรงทนทาน ใช้วัสดุเกรด A ผลิตจากประเทศเกาหลีใต้ มีความ แข็งแรงทนทาน รับน้ำหนักได้ถึง 120 กิโลกรัม ทำให้คุณมั่นใจได้ว่าจะไม่ผิดหวังแน่นอน ในการเลือกซื้อมาดูแลสุขภาพของคุณ

   บทความนี้ เก้าอี้เพื่อสุขภาพ Hara Chair จะมาพูดถึง 7 ลักษณะของเก้าอี้ที่เหมาะสมกับการทำงาน ซึ่งหลายๆคนมองข้าม ที่จะใส่ใจในการเลือกเก้าอี้ ที่จะช่วยป้องกันให้เราห่างไกลจากโรคที่เกียวข้องกับการทำงานโดยเฉพาะโรคที่เกี่ยวข้องกับกระดูกสันหลัง ต่างๆ อาทิ โรคหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท กระดูกสันหลังคด หรือ การทำให้เราต้องเป็นคนเดินหลังค่อมหลังงงอ โดยไม่รู้ตัว  เนื่องจากเก้าอี้ไม่ได้รองรับสรีระ นั้นทำให้เรานั่งผิดท่าโดยไม่รู้ตัว ในทางตรงกันข้ามเก้าอี้เพื่อสุขภาพที่ดีจะรองรับสรีระและทำให้เรานั่งได้ถูกท่าโดยอัติโนมัติจากการออกแบบที่ดีกว่าเก้าอี้ปกติทั่วไป

Hara Chair ได้มีโอกาสไปสัมภาษณ์คุณหมอ อธิก แสงอาสภวิริยะ อายุรแพทย์โรคภูมิแพ้ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า ลูกค้าเก้าอี้เพื่อสุขภาพ Hara Chair หลังจากที่ได้ซื้อไปใช้งานประมาณ 1 ปี ว่าส่งผลที่ดีขึ้นอย่างไรต่อสุขภาพ เพราะ ย้อนกลับไปเมื่อวันที่คุณหมอเข้ามาซื้อ Hara Chair คุณหมอประสบปัญหาในการนั่งอย่างมาก เนื่องจากต้องนั่งทำงานติดๆกันหลายชั่วโมง เก้าอี้ที่ใช้อยู่ ณ ขณะนั้น ไม่สามารถตอบโจทย์ได้เลย ส่งผลจนมีอาการปวดบริเวณกระดูกต้นคอ ถึงขั้นต้องรักษาด้วยการผ่าตัด และกายภาพบำบัด วันนี้ Hara Chair มีบทสัมภาษณ์จากคุณหมอมาให้ได้อ่านกันครับ

เคยสังเกตุตัวเองบ้างหรือไม่ ว่าพฤติกรรมต่างๆในชีวิตของเรา มีความเสี่ยงหรืออาจเป็นการสะสมสิ่งที่จะก่อให้เกิดโรคหมอนรองกระดูกเสื่อมโดยไม่รู้ตัว Hara Chair เก้าอี้เพื่อสุขภาพ อยากให้ทุกท่านตระหนักถึง การดูแลรักษากระดูกสันหลังของเรา เพราะเป็นอวัยวะที่สำคัญมากๆต่อการดำเนินชีวิต

ความยอดเยี่ยมของเก้าอี้เพื่อสุขภาพ Hara Chair คือ ความอิสระในการใช้งานและสามารถปกป้องกระดูกสันหลังของคุณได้อย่างแท้จริง วิดิโอนี้จะทำให้คุณได้มีความเข้าใจในการปรับใช้งานเก้าอี้เพื่อสุขภาพ Hara Chair ได้ดียิ่งขึ้น

อาการปวดต้นคอ (Neck Pain) เป็นอาการที่สามารถเกิดขึ้นได้บ่อย กับทุกเพศทุกช่วงอายุ ซึ่งหากเป็นอาการปวดแบบธรรมดา เช่นตกหมอน หรือก้มทำงานนานๆเป็นบางครั้ง โดยปกติอาการปวดจะหายไปเองและไม่เป็นอันตรายมาก โดยอาจจะทำให้หันศรีษะไม่สะดวก บางรายอาจมีอาการเกร็งร่วมด้วย แต่ก็เป็นอาการคุ้นเคยที่ไม่ได้ส่งผลร้ายแรงแต่อย่างใดแต่!!! หากมีอาการอื่นๆร่วมแทรกซ้อนเข้ามาด้วย เช่น ปวดและวิงเวียนศีรษะ ชา เสียวแป๊บที่ต้นคอ มีอาการเกร็งมากจนหันคอไม่ได้ ปวดชามาถึงไหล่และแขน ต้นคอมีอาการบวม และหนักถึงขั้นกลืนอาหารได้ลำบาก ส่งผลชัดเจนต่อการทำงาน จะรอช้าไม่ได้ให้สันนิษฐานว่าเป็นอาการที่อันตราย ควรไปพบแพทย์อย่างเร่งด่วน

Powered by MakeWebEasy.com
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้